ความภูมิใจในอาชีพครู
พงศพัศ รัตนะ
วันศุกร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2563
วันเสาร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2563
Raising Real Leaders Using Virtual Worlds: Blending Minecraft, Leadership, and Creativity Javorsky, Kristin H.
โครงการหลังเลิกเรียนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลกลางซึ่งให้บริการแก่ประชากรวัยประถมศึกษาในชุมชนชนบททางใต้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ของ Minecraft และกรอบการพัฒนาเยาวชนเชิงสร้างสรรค์ เพื่อสนับสนุนโปรแกรมการศึกษาของตัวละครในโรงเรียนท้องถิ่น เมื่อได้รับศูนย์การเรียนรู้ชุมชนแห่งศตวรรษที่ 21
Raising Real Leaders Using Virtual Worlds: Blending Minecraft, Leadership, and Creativity
Raising Real Leaders Using Virtual Worlds: Blending Minecraft, Leadership, and Creativity
Javorsky, Kristin H.
Afterschool Matters, n30 p10-18 Fall 2019
This article describes how a federally funded afterschool program serving an elementary-age population in a rural southern community used the creative affordances of Minecraft and a creative youth development (CYD) framework to support the local school district's character education program, The Leader in Me (LiM). On receipt of a 21st Century Community Learning Centers (21st CCLC) grant in 2017, the program began serving students in grades 1 through 4 four days a week, with priority given to students performing at or below the 25th percentile on the state's standardized literacy assessment. In addition to using Minecraft for creative design work, students created art using various media, read high-quality diverse literature about leaders and leadership, kept daily writing journals, participated in conversations with community leaders, toured local public buildings, and prepared leadership presentations for family engagement events.
Descriptors: After School Programs, Elementary School Students, Rural Areas, Educational Technology, Technology Uses in Education, Youth Programs, Citizenship Education, Leadership Training, Grade 1, Grade 2, Grade 3, Grade 4, Clubs, Creativity, Computer Simulation, Student Behavior
National Institute on Out-of-School Time. Wellesley Centers for Women, 106 Central Street, Wellesley, MA 02481. Tel: 781-283-2547; Fax: 781-283-3657; e-mail: niost@wellesley.edu; Web site: http://www.niost.org
Qualitative Analysis of Creative Potential of Educational Leaders
ผู้นำทางการศึกษาจำเป็นต้องมีทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ มันก็โผล่ออกมาจากการสัมภาษณ์ว่าระบบการศึกษาที่ผู้เข้าร่วมได้ศึกษาได้ขัดขวางความคิดสร้างสรรค์ของพวกเขา ดังนั้นผู้นำทางการศึกษาจำเป็นต้องเพิ่มศักยภาพความคิดสร้างสรรค์ของตนเองซึ่งพิสูจน์แล้วว่าเป็นประโยชน์ต่อการเติบโตและการพัฒนาขององค์กรโดยการฝึกการคิดอย่างสร้างสรรค์และสร้างกลุ่มการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ
Qualitative Analysis of Creative Potential of Educational Leaders
Qualitative Analysis of Creative Potential of Educational Leaders
Asif, Nimira; Rodrigues, Sherwin
Journal of Education and Training Studies, v3 n6 p279-286 Nov 2015
The research study was carried out in a private university with course participants of Masters of Education (MEd) having a major in the specialization of Educational Leadership and Management. The purpose of the study was to enhance the creative potentials of educational leaders. Creativity provokes diverse thinking to make something novel which can improve the standards of living of an individual with the changing times. Striving for effectiveness, efficiency and quality in every aspect of life draws imagination towards the need for creativity in an educational leadership role because leaders influence minds and act as change agents (Kaufman, 2005). According to Lagari (2010) the former chairman of Higher Education Commission Pakistan, all leaders need to enhance creativity to facilitate 'out of the box' solutions. In order to enhance this emerging need of creativity for educational leaders the study was conducted with action learning as the methodology to enrich the creativity of educational leaders (as education is the key to progress). The tools to collect the relevant data were semi-structured interviews, exercises on creativity and focus group discussions. The process of data collection had three phases. In the first phase semi-structured interviews took place on the basis of which the participants were given some worksheets to enhance their creative potentials. The worksheets included activities for idea generation, lateral thinking, re-layering, etc. The second phase included focus group discussions (action learning phase) in which all three participants shared their professional life problems and explored alternative solutions. In the last phase semi-structured interviews were conducted, once again, to ascertain the application of participants' learning. The findings and analyses revealed that in order to face the challenges of the 21st century, educational leaders need to equip themselves with creative thinking skills. It also emerged from the interviews that the educational system by which participants have studied, has hindered their creativity. Therefore, educational leaders need to enhance their own creative potential which has proved to be beneficial for organizational growth and development by practicing creative thinking exercises and creating action learning groups.
The Role of Leadership in the Development of the Creative School in Palestine Sabbah, Suheir Sulieman
บทบาทของผู้นำเพื่อให้สามารถทำงานวิจัยดำเนินการสร้างและสร้างสรรค์โดยการพัฒนาวิธีคิดและวิธีการเป็นผู้นำด้านความคิดสร้างสรรค์ของโรงเรียนสร้างสรรค์ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตระหนักถึงบทบาทของความเป็นผู้นำทางการศึกษาในการพัฒนาโรงเรียนสร้างสรรค์ในปาเลสไตน์ กลุ่มสนทนาสองกลุ่มแต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิก 15 คน
The Role of Leadership in the Development of the Creative School in Palestine
The Role of Leadership in the Development of the Creative School in Palestine
Sabbah, Suheir Sulieman
Journal of Education and e-Learning Research, v4 n1 p1-7 2017
The world faces a great developmental revolution in all scientific fields which in its turn affects different aspects of life, such as: the medical, engineering and educational fields, etc. The educational school's aspect in particular will be the topic of this research. It tries to assist in developing the different aspects of the educational leader's character in order to be capable to work, conduct research, create and innovate through developing how to think and how to be a creative leader of a creative school. This study aims at recognizing the role of educational leadership in developing the creative school in Palestine. Two focus groups, each of which consists of 15 members, were met. According to their responses, a list of opinions and suggestions, that had been given to explain the educational role in developing a creative school, was applied to a small sample of 116 school's male and female leaders. Results showed high percentage in the role of educational leader of average 4.43 and a standard deviation of 0.29. The highest percent was for the role of school's administration and class' environment followed by teacher's role and extra class activities respectively.
Descriptors: Leadership Role, Foreign Countries, Focus Groups, Instructional Leadership, Creativity, Administrator Role, School Administration, Leaders, Extracurricular Activities, Questionnaires, Interviews
Asian Online Journal Publishing Group. 244 Fifth Avenue Suite D42, New York, NY 10001. Fax: 212-591-6094; e-mail: info@asianonlinejournals.com; Web site: http://www.asianonlinejournals.com
ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาในภาคตะวันออก
Titleภาวะผู้นำของผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาในภาคตะวันออก
Title AlternativeCollege directors' leadership of the vocational education institutes in the eastern region
CreatorName: สุวิทย์ เมืองศิริ
SubjectThaSH: ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา.
ThaSH: สถาบันอุดมศึกษา - - การบริหาร.
ThaSH: ภาวะผู้นำ.
ThaSH: บุคลากรทางการศึกษา.
ThaSH: อาชีวศึกษา.
Classification :.DDC: 378
DescriptionAbstract: การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาในภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา และหัวหน้างาน สังกัดสำสถาบันการอาชีวศึกษาในภาคตะวันออก จำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้อำนวยการสถานศึกษา ตามแนวคิดของเบอร์นาร์ด เอม.แบสส์ (Bernard M.Bass) และบรูซ เจ.อโวลิโอ (Bruce J.Avolio) ซึ่งประกอบด้วย ด้านการสร้างบารมี (Charisma or Idealized Influence) ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation) ด้านการกระตุ้นเชาวน์ปัญญา (Intellectual Stimulation) และด้านการคำนึงถึงเอกัตบุคคล (Individualized Consideration) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าวิกฤตที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และการทดสอบรายคู่ โดยใช้วิธีของบอนเฟอร์รอนนี่ (Bonferronni Test) ผลการวิจัยปรากฎดังนี้1. ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชาโดยรวม ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ และด้านคำนึงถึงเอกัตบุคคล อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้าน การสร้างบารมี และด้านการกระตุ้นเชาวน์ปัญญาอยู่ในระดับมาก2. ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาในภาคตะวันออกระหว่างความคิดเห็นของรองผู้อำนวยการสถานศึกษากับหัวหน้างานแตกต่างกัน3. ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาในภาคตะวันออก ระหว่างความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชาที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาต่างประเทศแตกต่างกัน
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3
ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3
Title AlternativeTransformational Leadership of School Administrators as Perceived by Teachers of Secondary School in Bangkok Educational Service Area Office 3
CreatorName: วีณา เพชรจิระวรพงศ์
Subjectkeyword: ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร
ThaSH: ภาวะผู้นำทางการศึกษา - วิจัย.
Classification :.DDC: ธบ072 ว2552 371.201 ว815ภ
; ความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยม
ThaSH: ผู้บริหารโรงเรียน - วิจัย.
ThaSH: ผู้นำทางการศึกษา - วิจัย.
DescriptionAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 3 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 42 โรงเรียน ครู 3,390 คน โดยจำแนกตามเพศ ขนาดโรงเรียน และประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่การสอน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 346 คนซึ่งเลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย แจกแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่าง ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา 326 ฉบับ (คิดเป็นร้อยละ 94.21) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดทฤษฎีวิเคราะห์ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของ Bill Miles 4 ด้าน ทฤษฏีด้านผู้นำมิตรสัมพันธ์ ทฤษฏีด้านผู้นำสู่จุดมุ่งหมาย ทฤษฏีด้านการแลกเปลี่ยนและการเปลี่ยนแปลง และทฤษฏีด้านผู้นำแสดงออกอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยม ตามทฤษฏีทั้ง 4 ด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านผู้นำแสดงออกอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ด้านนำสู่จุดมุ่งหมาย ด้านการแลกเปลี่ยนและการเปลี่ยนแปลง และด้านมิตรสัมพันธ์ ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยม โดยจำแนกตามเพศ พบว่าโดยรวมครูที่มีเพศแตกต่างกัน มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทฤษฏีด้านผู้นำมิตรสัมพันธ์ครูมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนมัธยม โดยจำแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่าโดยรวมขนาดโรงเรียนแตกต่างกัน ครูมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทฤษฏีด้านผู้นำมิตรสัมพันธ์กับทฤษฏีด้านผู้นำแสดงออกอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ครูมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 และเมื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตามความคิดเห็นของครูที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่การสอนแตกต่างกัน พบว่าโดยรวมครูมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทฤษฏีด้านผู้นำมิตรสัมพันธ์กับทฤษฏีด้านผู้นำแสดงออกอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ครูมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)